การบำ า รุ ง รั ก ษา + การดู แ ล
ในการทำ า ความสะอาด MW01 คุ ณ สามารถใช้ ผ ้ า ไมโครไฟเบอร์ ได้ อย่ า ใช้ แ อลกอฮอล์ ห รื อ สารทำ า ความสะอาดอื ่ น
ๆ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์
อย่ า ทำ า ตก นั ่ ง ทั บ หรื อ ปล่ อ ยให้ ห ู ฟั งสั ม ผั ส กั บ น้ ำ า ความชื ้ น หรื อ อยู ่ ในอุ ณ หภู ม ิ ส ู ง
ช่ ว งอุ ณ หภู ม ิ
ใช้ ง านและจั ด เก็ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น ี ้ ใ นช่ ว งอุ ณ หภู ม ิ -4 °F ถึ ง 113 °F (-20 °C ถึ ง 45 °C) เท่ า นั ้ น ชาร์ จ
แบตเตอรี ่ ท ี ่ อ ุ ณ หภู ม ิ ร ะหว่ า ง 41 °F และ 104 °F (5 °C และ 40 °C) เท่ า นั ้ น
สุ ข ภาพหู
ความสามารถในการได้ ย ิ น ของเราเป็ นเรื ่ อ งที ่ น ่ า อั ศ จรรย์ ปฏิ บ ั ต ิ ก ั บ หู ข องคุ ณ เหมื อ นกั บ เครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี ค ่ า เพื ่ อ คุ ณ
จะได้ ร ั บ ฟังข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งชั ด เจน และดื ่ ม ด่ ำ า กั บ ประสบการณ์ เ สี ย งอั น น่ า ทึ ่ ง ไปตราบนานเท่ า นาน
โดยทั ่ ว ไป ไม่ ค วรฟังเสี ย งที ่ "ดั ง เกิ น ไปหรื อ นานเกิ น ไป" และควรดู แ ลเอาใจใส่ ห ู ข องคุ ณ เสี ย งหึ ่ ง ความรู ้ ส ึ ก ไม่
สบาย หรื อ ความไวต่ อ ความถี ่ ส ู ง และเสี ย งแหลมอาจเป็ นสั ญ ญาณจากหู ข องคุ ณ ว่ า คุ ณ กำ า ลั ง ใช้ ง านหู เ กิ น ขี ด จำ า กั ด
และกำ า ลั ง ทำ า ให้ ห ู ไ ด้ ร ั บ ความเสี ย หายที ่ ไ ม่ อ าจแก้ ไขได้
ตามแนวทางปฏิ บ ั ต ิ ท ั ่ ว ไปแล้ ว ให้ ห าระดั บ การฟังที ่ ค ุ ณ ต้ อ งการ จากนั ้ น ให้ ป รั บ ระดั บ เสี ย งลงอี ก 10% หรื อ
มากกว่ า นั ้ น หู ข องคุ ณ จะทำ า การปรั บ ให้ เ ข้ า กั บ ระดั บ เสี ย งที ่ ต ่ ำ า กว่ า เล็ ก น้ อ ยเมื ่ อ ผ่ า นช่ ว งเวลาหนึ ่ ง ไป และระดั บ
เสี ย งที ่ ด ู เ หมื อ นจะเบาในช่ ว งแรกจะกลายเป็ นระดั บ เสี ย งที ่ เ หมาะอย่ า งยิ ่ ง สำ า หรั บ การฟังในระยะยาว
คู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
NIHL (ประสาทหู เ สื ่ อ มจากการสั ม ผั ส เสี ย งดั ง )
NIHL เป็ นสภาวะที ่ ส ามารถป้ องกั น ได้ อ ั น มี ส าเหตุ ม าจากการรั บ ฟังเสี ย งที ่ ม ี ร ะดั บ เดซิ เ บล (dB) ที ่ ม ากเกิ น ไปทั ้ ง
ครั ้ ง เดี ย วและเป็ นเวลานาน ซึ ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตรายที ่ ไ ม่ ส ามารถย้ อ นคื น ได้ ต ่ อ โครงสร้ า งหู ช ั ้ น ที ่ ล ะเอี ย ดอ่ อ น และ
มี ผ ลกระทบต่ อ คนในทุ ก เพศทุ ก วั ย ความเสี ย หายสามารถเกิ ด ขึ ้ น ได้ จ ากเหตุ ก ารณ์ เ พี ย งครั ้ ง เดี ย ว หรื อ ค่ อ ย ๆ ก่ อ
ตั ว ขึ ้ น เมื ่ อ เวลาผ่ า นไปช่ ว งหนึ ่ ง การฟังเสี ย งที ่ "กระชาก" อย่ า งรุ น แรงเพี ย งครั ้ ง เดี ย ว เช่ น การระเบิ ด หรื อ การ
ฟังเสี ย งที ่ ด ั ง เกิ น 85 เดซิ เ บลอย่ า งต่ อ เนื ่ อ งอาจทำ า ให้ เ กิ ด อั น ตรายได้ ตั ว บ่ ง ชี ้ ข อง NIHL รวมถึ ง การสู ญ เสี ย การ
ได้ ย ิ น และโรคเสี ย งในหู ภาวะที ่ ไ วต่ อ เสี ย งหึ ่ ง เสี ย งพึ ม พา หรื อ เสี ย งคำ า รามต่ อ เนื ่ อ ง NIDCD (สถาบั น คนหู ห นวก
และความผิ ด ปกติ ข องการสื ่ อ สารอื ่ น แห่ ง ชาติ ) เสนอกฎเกณณ์ ง ่ า ย ๆ ดั ง นี ้ : ให้ ห ลี ก เลี ่ ย งการสั ม ผั ส กั บ เสี ย งที ่ "ดั ง
เกิ น ไป ใกล้ เ กิ น ไป หรื อ นานเกิ น ไป" ต่ อ ไปนี ้ ค ื อ ข้ อ อ้ า งอิ ง ทั ่ ว ไปบางส่ ว นของระดั บ เสี ย งที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในชี ว ิ ต ประจำ า วั น :
เสี ย งฮั ม ของตู ้ เ ย็ น (45 dB) การสนทนาปกติ (60 dB) การจราจรในเมื อ ง (85 dB) รถจั ก รยานยนต์ (95 dB)
เครื ่ อ งเล่ น MP3 ที ่ ร ะดั บ เสี ย งเต็ ม (105 dB) เสี ย งไซเรน (120 dB) เสี ย งประทั ด ไฟ (150 dB)
MW01 อะแดปเตอร์ บ ลู ท ู ธ ไร้ ส าย/เครื ่ อ งส่ ง สั ญ ญาณ
TH
80