128 | ไทย
การปรั บ มุ ม เอี ย งในแนวตั ้ ง (ใบเลื ่ อ ย) (ดู ภ าพประกอบ B)
มุ ม เอี ย งในแนวตั ้ ง สามารถปรั บ ตั ้ ง ได้ ใ นช่ ว งระหว่ า ง 0° ถึ ง
45°
– คลายคั น ล็ อ ค (20) ออกในทิ ศ ทวนเข็ ม นาฬิ ก า
หมายเหตุ : หากคลายคั น ล็ อ คออกจนหมด แรงโน้ ม ถ่ ว งจะ
ทำให้ ใ บเลื ่ อ ยเอี ย งไปในตำแหน่ ง ที ่ เ ท่ า กั บ ประมาณ 30°
– ดึ ง หรื อ ดั น ล้ อ หมุ น มื อ (14) ไปตาม slotted link จนเข็ ม
ชี ้ ม ุ ม (21) แสดงมุ ม เอี ย งในแนวตั ้ ง ที ่ ต ้ อ งการ
– จั บ ล้ อ หมุ น มื อ ไว้ ใ นตำแหน่ ง นี ้ แ ละยึ ด คั น ล็ อ ค (20) กลั บ ให้
แน่ น อี ก ครั ้ ง
สำหรั บ การปรั บ มุ ม มาตรฐานในแนวตั ้ ง 0° และ 45°
อย่ า งรวดเร็ ว และแม่ น ยำ มี ต ั ว หยุ ด ((22), (18)) ที ่ ต ั ้ ง มา
จากโรงงาน
การปรั บ มุ ม เอี ย งในแนวนอน (ฉากหยุ ด มุ ม ) (ดู ภ าพ
ประกอบ C)
มุ ม เอี ย งในแนวนอนสามารถปรั บ ตั ้ ง ได้ ใ นช่ ว งระหว่ า ง 30°
(ด้ า นซ้ า ย) ถึ ง 30° (ด้ า นขวา)
– คลายลู ก บิ ด ล็ อ ค (54) ออกหากถู ก ขั น แน่ น
– หมุ น ฉากหยุ ด มุ ม จนเข็ ม ชี ้ ม ุ ม (55) แสดงมุ ม เอี ย งที ่
ต้ อ งการ
– ขั น ลู ก บิ ด ล็ อ ค (54) เข้ า อี ก ครั ้ ง
การปรั บ แผงกำหนดแนวขนาน
แผงกำหนดแนวขนาน (5) สามารถจั ด วางได้ ท ั ้ ง ทางซ้ า ย
(มาตราส่ ว นสี ด ำ) หรื อ ทางขวา (มาตราส่ ว นสี เ งิ น ) ของใบ
เลื ่ อ ย เครื ่ อ งหมายในแถบแสดงมาตรส่ ว น (56) แสดงระยะ
ห่ า งที ่ ต ั ้ ง ไว้ ร ะหว่ า งแผงกำหนดแนวขนานและใบเลื ่ อ ยบน
มาตราส่ ว น (1)
จั ด วางแผงกำหนดแนวขนานบนด้ า นที ่ ต ้ อ งการของใบเลื ่ อ ย
(ดู "การติ ด ตั ้ ง แผงกำหนดแนวขนาน (ดู ภ าพประกอบ e)",
หน้ า 124)
การปรั บ แผงกำหนดแนวขนานเมื ่ อ ไม่ ด ึ ง โต๊ ะ เลื ่ อ ยออก
– คลายด้ า มหนี บ (41) ของแผงกำหนดแนวขนาน (5) ออก
เลื ่ อ นแผงกำหนดแนวขนานจนเครื ่ อ งหมายในแถบแสดง
มาตราส่ ว น (56) แสดงระยะห่ า งจากใบเลื ่ อ ยที ่ ต ้ อ งการ
เมื ่ อ ไม่ ด ึ ง โต๊ ะ เลื ่ อ ยออกให้ ใ ช้ เ ครื ่ อ งหมายด้ า นล่ า งของ
มาตราส่ ว นสี เ งิ น (1)
– เมื ่ อ ต้ อ งการล็ อ คให้ ก ดด้ า มหนี บ (41) ลงอี ก ครั ้ ง
การปรั บ แผงกำหนดแนวขนานเมื ่ อ ดึ ง โต๊ ะ เลื ่ อ ยออก (ดู
ภาพประกอบ D)
– จั ด วางแผงกำหนดแนวขนานบนด้ า นขวาของใบเลื ่ อ ย
เลื ่ อ นแผงกำหนดแนวขนานจนเครื ่ อ งหมายใน แถบแสดง
1 609 92A 714 | (01.09.2021)
มาตราส่ ว น (56) แสดงบนมาตรส่ ว นด้ า นล่ า ง 29 ซม.
เมื ่ อ ต้ อ งการล็ อ คให้ ก ดด้ า มหนี บ (41) ลงอี ก ครั ้ ง
– ดึ ง ด้ า มหนี บ (13) ของส่ ว นขยายโต๊ ะ เลื ่ อ ยขึ ้ น ด้ า นบน
ทั ้ ง หมด
– ดึ ง ส่ ว นขยายโต๊ ะ เลื ่ อ ย (6) ออกมาด้ า นนอกจนเข็ ม ชี ้ ร ะยะ
ห่ า ง (57) แสดงระยะห่ า งจากใบเลื ่ อ ยที ่ ต ้ อ งการบน
มาตราส่ ว นด้ า นบน
– กดด้ า มหนี บ (13) ลง
ในลั ก ษณะนี ้ ส ่ ว นขยายโต๊ ะ เลื ่ อ ยจะถู ก ล็ อ ค
การปรั บ แผงกำหนดแนวขนานเพิ ่ ม (ดู ภ าพ
ประกอบ E)
สำหรั บ การเลื ่ อ ยชิ ้ น งานแคบและการเลื ่ อ ยมุ ม เอี ย งในแนว
ตั ้ ง ท่ า นต้ อ งติ ด ตั ้ ง แผงกำหนดแนวขนานเพิ ่ ม (43) เข้ า กั บ
แผงกำหนดแนวขนาน (5)
แผงกำหนดแนวขนานเพิ ่ ม สามารถติ ด ตั ้ ง ทางซ้ า ยหรื อ ทางขวา
เข้ า กั บ แผงกำหนดแนวขนาน (5) ได้ ต ามต้ อ งการ
ขณะเลื ่ อ ย ชิ ้ น งานอาจเกิ ด ติ ด ขั ด อยู ่ ร ะหว่ า งแผงกำหนดแนว
ขนานและใบเลื ่ อ ย ถู ก ใบเลื ่ อ ยส่ ว นขึ ้ น เกี ่ ย วจั บ และเหวี ่ ย งออก
ไป
ดั ง นั ้ น จึ ง ควรปรั บ ตั ้ ง แผงกำหนดแนวขนานเพิ ่ ม ในลั ก ษณะให้
ตอนท้ า ยของแผงอยู ่ ร ะหว่ า งฟั น หน้ า ของใบเลื ่ อ ยและขอบด้ า น
หน้ า ของลิ ่ ม แยก
– สำหรั บ การปรั บ ตั ้ ง ให้ ค ลายน๊ อ ตปี ก ทั ้ ง หมดของชุ ด ยึ ด
(44) ออก และเลื ่ อ นแผงกำหนดแนวขนานเพิ ่ ม จนใช้ เ พี ย ง
สกรู ด ้ า นหน้ า สองตั ว เท่ า นั ้ น สำหรั บ ยึ ด
– ยึ ด น๊ อ ตปี ก กลั บ ให้ แ น่ น อี ก ครั ้ ง
การปรั บ ลิ ่ ม แยก
ลิ ่ ม แยก (4) ช่ ว ยป้ อ งกั น ใบเลื ่ อ ย (26) ไม่ ใ ห้ ต ิ ด ขั ด ในร่ อ งตั ด
มิ ฉ ะนั ้ น จะเกิ ด ความเสี ย หายจากการตี ก ลั บ หากใบเลื ่ อ ยถู ก บี บ
อั ด อยู ่ ใ นชิ ้ น งาน
ดู แ ลให้ ล ิ ่ ม แยกได้ ร ั บ การปรั บ อย่ า งถู ก ต้ อ งเสมอ:
– ระยะห่ า งในแนวรั ศ มี ร ะหว่ า งใบเลื ่ อ ยและลิ ่ ม แยกสู ง สุ ด ต้ อ ง
ไม่ เ กิ น 3 - 8 มม.
– ความหนาของลิ ่ ม แยกต้ อ งน้ อ ยกว่ า ความกว้ า งการตั ด และ
มากกว่ า ความหนาของใบเลื ่ อ ย
– ลิ ่ ม แยกต้ อ งอยู ่ ใ นแนวเดี ย วกั น กั บ ใบเลื ่ อ ยเสมอ
– สำหรั บ การตั ด ปกติ ลิ ่ ม แยกต้ อ งอยู ่ ใ นตำแหน่ ง สู ง สุ ด เท่ า ที ่
เป็ น ไปได้ เ สมอ
การปรั บ ความสู ง ของลิ ่ ม แแยก (ดู ภ าพประกอบ F)
สำหรั บ การเลื ่ อ ยร่ อ ง ต้ อ งปรั บ ความสู ง ของลิ ่ ม แยก
Bosch Power Tools