ไม่ ส ามารถแบ่ ง ปั น อุ ป กรณ์ ก ั บ ผู ้ ใ ช้ ห ลายคนเพื ่ อ จุ ด ประสงค์ ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การดํ า นํ ้ า ได้ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เช่ น ประวั ต ิ ก ารดํ า นํ ้ า พารามิ เ ตอร์ และ
•
การเปลี ่ ย นแปลงความลึ ก ในเวลาจริ ง เป็ น ข้ อ มู ล เฉพาะผู ้ ใ ช้ ดั ง นั ้ น การแบ่ ง ปั น อุ ป กรณ์ น ี ้ ส ํ า หรั บ นั ก ดํ า นํ ้ า หลายคนอาจทํ า ให้ ไ ด้ ร ั บ ข้ อ มู ล ที ่
ไม่ ถ ู ก ต้ อ ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ หรื อ เสี ย ชี ว ิ ต ได้
อุ ป กรณ์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อ าจเกิ ด ข้ อ ผิ ด พลาดได้ และอุ ป กรณ์ น ี ้ ก ็ ไ ม่ ม ี ข ้ อ ยกเว้ น โปรดติ ด ตามความลึ ก ปั จ จุ บ ั น ระยะเวลาการดํ า นํ ้ า ก๊ า ซ ความ
•
ดั น บางส่ ว นของออกซิ เ จน ขี ด จํ า กั ด ของการไม่ พ ั ก เพื ่ อ ลดความกดอากาศ (NDL) และข้ อ มู ล อื ่ น ๆ อยู ่ เ สมอ ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ได้ เ ตรี ย ม
อุ ป กรณ์ ส ํ า รองไว้ เนื ่ อ งจากแหล่ ง ข้ อ มู ล เดี ย วไม่ เ พี ย งพอเมื ่ อ ความปลอดภั ย ของคุ ณ อยู ่ ใ นความเสี ่ ย งที ่ ส ู ง
ก่ อ นดํ า นํ ้ า ให้ ต รวจสอบความปลอดภั ย ของอุ ป กรณ์ ตั ว อย่ า งเช่ น ตรวจสอบว่ า อุ ป กรณ์ ท ํ า งานอย่ า งถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ การตั ้ ง ค่ า การดํ า นํ ้ า ถู ก
•
ต้ อ งหรื อ ไม่ และพลั ง งานแบตเตอรี ่ เ พี ย งพอหรื อ ไม่
ไม่ ค วรใช้ อ ุ ป กรณ์ ส ํ า หรั บ กิ จ กรรมการดํ า นํ ้ า เชิ ง พาณิ ช ย์ ห รื อ แบบมื อ อาชี พ อุ ป กรณ์ น ี ้ ม ี ไ ว้ เ พื ่ อ จุ ด ประสงค์ ด ้ า นสั น ทนาการเท่ า นั ้ น
•
อุ ป กรณ์ น ี ้ ไ ม่ ไ ด้ ค ํ า นึ ง ถึ ง สภาวะทางสรี ร วิ ท ยาที ่ เ ปลี ่ ย นแปลงของแต่ ล ะคน แม้ ว ่ า การดํ า นํ ้ า จะดํ า เนิ น การทั ้ ง หมดตามแผนการดํ า นํ ้ า ที ่ อ ุ ป กรณ์
•
นี ้ ห รื อ อุ ป กรณ์ ด ํ า นํ ้ า กํ า หนดไว้ ก ็ ต าม แต่ ก ็ ย ั ง มี ค วามเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด โรคจากการลดความกดอากาศ (DCS) ได้ ไม่ ม ี ว ิ ธ ี ก ารหรื อ อุ ป กรณ์ ใ ดที ่
สามารถตั ด ความเป็ น ไปได้ ข องการเกิ ด DCS ภาวะเมาไนโตรเจน หรื อ ภาวะออกซิ เ จนเป็ น พิ ษ ออกได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ดั ง นั ้ น ขอแนะนํ า ให้ ด ํ า
นํ ้ า ภายในขี ด จํ า กั ด ความปลอดภั ย ที ่ อ ุ ป กรณ์ ก ํ า หนดไว้ เ สมอ เพื ่ อ ลดความเสี ่ ย งที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น
อุ ป กรณ์ ส ามารถประมาณการใช้ ก ๊ า ซใต้ น ํ ้ า ของคุ ณ ตามอั ต ราการใช้ ก ๊ า ซที ่ ค ุ ณ ป้ อ นในแผนการดํ า นํ ้ า แต่ ค ่ า นี ้ ใ ช้ ส ํ า หรั บ การอ้ า งอิ ง เท่ า นั ้ น
•
และไม่ ค วรใช้ เ ป็ น พื ้ น ฐานเพี ย งอย่ า งเดี ย วในการตั ด สิ น ใจของคุ ณ
ก่ อ นดํ า นํ ้ า ลึ ก ให้ ต รวจสอบส่ ว นประกอบของก๊ า ซในถั ง ดํ า นํ ้ า และป้ อ นค่ า ที ่ ส อดคล้ อ งกั น ลงในอุ ป กรณ์ หากไม่ ด ํ า เนิ น การเช่ น นั ้ น อาจแสดง
•
อั ล กอริ ธ ึ ม การดํ า นํ ้ า ที ่ ไ ม่ ถ ู ก ต้ อ ง ซึ ่ ง อาจเป็ น ภั ย คุ ก คามร้ า ยแรงต่ อ ความปลอดภั ย ของคุ ณ
การใช้ ส ่ ว นผสมของก๊ า ซหลายชนิ ด และ/หรื อ การดํ า นํ ้ า เชิ ง เทคนิ ค ที ่ ต ้ อ งมี ก ารพั ก นํ ้ า เพื ่ อ ลดความกดอากาศเป็ น ระยะ และ/หรื อ การดํ า นํ ้ า ใน
•
สภาพแวดล้ อ มที ่ ป ิ ด อาจนํ า ไปสู ่ ก ารบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ ถึ ง ขั ้ น เสี ย ชี ว ิ ต ได้
อุ ป กรณ์ จ ะคํ า นวณการเปลี ่ ย นแปลงระดั บ ความสู ง โดยอั ต โนมั ต ิ ผ ่ า นบารอมิ เ ตอร์ ข้ อ มู ล ความดั น ที ่ ใ ช้ โ ดยแบบจํ า ลองการลดความกด
•
อากาศจะไม่ ไ ด้ ร ั บ ผลกระทบจากความสู ง หรื อ ความดั น บนผิ ว นํ ้ า อย่ า งไรก็ ต าม เมื ่ อ คุ ณ เข้ า สู ่ พ ื ้ น ที ่ ส ู ง ร่ า งกายของคุ ณ จะขั บ ไนโตรเจนออก
มาจนหมดเนื ่ อ งจากความกดอากาศตํ ่ า ดั ง นั ้ น ขอแนะนํ า ให้ ค ุ ณ เผื ่ อ เวลาไว้ อ ย่ า งน้ อ ยหกชั ่ ว โมงสํ า หรั บ กระบวนการนี ้ เพื ่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า
ร่ า งกายของคุ ณ จะปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สภาพแวดล้ อ มบนที ่ ส ู ง ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที ่
แบบจํ า ลองอั ล กอริ ท ึ ม การลดความกดอากาศพื ้ น ฐานที ่ อ ุ ป กรณ์ ใ ช้ ค ื อ อั ล กอริ ท ึ ม Bühlmann ZHL-16C ซึ ่ ง จะสร้ า งระดั บ Conservatism
•
โดยใช้ ค ่ า สั ม ประสิ ท ธิ ์ ค วามแตกต่ า งของความดั น การตั ้ ง ค่ า Conservatism เริ ่ ม ต้ น จะแตกต่ า งกั น ไปตามโหมดการดํ า นํ ้ า อย่ า เปลี ่ ย นค่ า
Gradient Factor (GF) เว้ น แต่ ค ุ ณ จะเข้ า ใจผลที ่ ต ามมาที ่ เ ป็ น ไปได้
ข้ อ มู ล การลดความกดอากาศที ่ แ สดงขึ ้ น บนอุ ป กรณ์ รวมถึ ง NDL, ความลึ ก ของการพั ก นํ ้ า , ระยะเวลาการพั ก นํ ้ า และระยะเวลาที ่ จ ะขึ ้ น สู ่
•
ผิ ว นํ ้ า (TTS) ทั ้ ง หมดล้ ว นเป็ น การคาดคะเน ค่ า เหล่ า นี ้ จ ะแตกต่ า งกั น ไปตามสภาวะภายนอก เช่ น ความลึ ก ปั จ จุ บ ั น ระยะเวลาการดํ า นํ ้ า และ
องค์ ป ระกอบของก๊ า ซ นอกจากนี ้ ความแม่ น ยํ า ของการคาดคะเนเหล่ า นี ้ อ าจได้ ร ั บ ผลกระทบจากข้ อ จํ า กั ด ที ่ อ ั ล กอริ ท ึ ม การลดความกด
อากาศกํ า หนด ตั ว อย่ า งเช่ น อั ต ราการขึ ้ น สู ่ ผ ิ ว นํ ้ า ที ่ ไ ม่ เ หมาะสม การเปลี ่ ย นก๊ า ซในเวลาที ่ ไ ม่ ถ ู ก ต้ อ ง และการไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามการพั ก นํ ้ า เพื ่ อ ลด
ความกดอากาศ ทั ้ ง หมดล้ ว นนํ า ไปสู ่ ก ารแสดงข้ อ มู ล ที ่ ไ ม่ แ ม่ น ยํ า
ข้ อ ความแจ้ ง เตื อ นและการแจ้ ง เตื อ นทั ้ ง หมดอยู ่ ภ ายใต้ ข ้ อ จํ า กั ด ต่ า ง ๆ ระบบอาจส่ ง ข้ อ ความแจ้ ง เตื อ นหรื อ การแจ้ ง เตื อ นเมื ่ อ ไม่ ม ี ป ั ญ หา
•
เกิ ด ขึ ้ น หรื อ อาจไม่ ไ ด้ ส ่ ง ข้ อ ความแจ้ ง เตื อ นหรื อ การแจ้ ง เตื อ นเมื ่ อ เกิ ด ปั ญ หา อย่ า งไรก็ ต าม โปรดตอบสนองต่ อ ข้ อ ความแจ้ ง เตื อ นหรื อ การ
แจ้ ง เตื อ นอย่ า งทั น ท่ ว งที แต่ อ ย่ า พึ ่ ง พาข้ อ ความแจ้ ง เตื อ นหรื อ การแจ้ ง เตื อ นมากเกิ น ไป เนื ่ อ งจากการป้ อ งกั น ที ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด คื อ การใช้
วิ จ ารณญาณ ทั ก ษะ และประสบการณ์ ข องตั ว คุ ณ เองในฐานะนั ก ดํ า นํ ้ า
การไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามการพั ก นํ ้ า เพื ่ อ ลดความกดอากาศที ่ แ นะนํ า จะไม่ ส ่ ง ผลให้ อ ุ ป กรณ์ ถ ู ก ล็ อ คหรื อ ถู ก ลงโทษอื ่ น ๆ อุ ป กรณ์ น ี ้ ม ี ก ารแจ้ ง เตื อ นที ่
•
ชั ด เจนสํ า หรั บ การไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามแผนการลดความกดอากาศตามกํ า หนดเวลา เพื ่ อ ให้ ค ุ ณ สามารถตั ด สิ น ใจตามการฝึ ก ของคุ ณ ได้ (รวมถึ ง
การช่ ว ยชี ว ิ ต ตนเอง การติ ด ต่ อ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารประกั น ภั ย การดํ า นํ ้ า หรื อ การติ ด ต่ อ ห้ อ งปรั บ ความกดอากาศ)
การพั ก นํ ้ า เป็ น ทางเลื อ ก การไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามการพั ก นํ ้ า จะไม่ ท ํ า ให้ อ ุ ป กรณ์ ถ ู ก ล็ อ คหรื อ ถู ก ลงโทษอื ่ น ๆ และจะไม่ ม ี ก ารเตื อ นใด ๆ อย่ า งไร
•
ก็ ต าม ขอแนะนํ า ให้ ค ุ ณ ดํ า เนิ น การพั ก นํ ้ า ตามกํ า หนดเวลา เพื ่ อ ลดความเสี ่ ย งของการเกิ ด DCS
การฝึ ก และการทดสอบการกลั ้ น หายใจเป็ น สิ ่ ง ที ่ อ ั น ตราย โปรดวางแผนการฝึ ก ที ่ เ หมาะสมตามสภาพร่ า งกายของตั ว คุ ณ เอง ดํ า เนิ น การฝึ ก
•
และทดสอบภายใต้ ค ํ า แนะนํ า ของบุ ค ลากรมื อ อาชี พ ให้ เ สร็ จ สิ ้ น เพื ่ อ เหตุ ผ ลด้ า นความปลอดภั ย อย่ า ฝึ ก หรื อ ทดสอบโดยลํ า พั ง
ในระหว่ า งการดํ า นํ ้ า ลึ ก การขึ ้ น สู ่ ผ ิ ว นํ ้ า เร็ ว เกิ น ไปจะเพิ ่ ม ความเสี ่ ย งของการเกิ ด DCS ดั ง นั ้ น โปรดรั ก ษาอั ต ราการขึ ้ น สู ่ ผ ิ ว นํ ้ า ที ่ ป ลอดภั ย ทุ ก
•
ครั ้ ง
คุ ณ ควรได้ ร ั บ การฝึ ก ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งก่ อ นที ่ จ ะใช้ ฟ ี เ จอร์ เ ข็ ม ทิ ศ สํ า หรั บ การดํ า นํ ้ า ดั ง นั ้ น โปรดใช้ ค วามระมั ด ระวั ง เมื ่ อ ใช้ ง าน ก่ อ นดํ า นํ ้ า ตรวจสอบ
•
ให้ แ น่ ใ จว่ า เข็ ม ทิ ศ ทํ า งานได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง และตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ได้ ป รั บ เที ย บแล้ ว วั ต ถุ ท ี ่ เ ป็ น โลหะ แม่ เ หล็ ก ถาวร และมอเตอร์ อ าจส่ ง ผล
ต่ อ ความแม่ น ยํ า ของเข็ ม ทิ ศ
เมื ่ อ คุ ณ ใช้ อ ุ ป กรณ์ เ สร็ จ แล้ ว ให้ ท ํ า ความสะอาดหรื อ แช่ อ ุ ป กรณ์ ด ้ ว ยนํ ้ า สะอาดสั ก ครู ่ เ พื ่ อ ป้ อ งกั น สิ ่ ง ปนเปื้ อนต่ า ง ๆ เช่ น อนุ ภ าคเกลื อ ทะเล
•
หรื อ ตะกอนสะสมบนอุ ป กรณ์ เนื ่ อ งจากสิ ่ ง เหล่ า นี ้ อ าจทํ า ให้ ป ุ ่ ม เซ็ น เซอร์ ค วามดั น หรื อ ลํ า โพงทํ า งานล้ ม เหลวได้ หากลํ า โพงไม่ ท ํ า งาน คุ ณ
จะต้ อ งระบายนํ ้ า ออกจากอุ ป กรณ์ ห ลั ง จากขั ้ น ตอนก่ อ นหน้ า และทํ า ให้ อ ุ ป กรณ์ แ ห้ ง ด้ ว ยลมเป็ น เวลาอย่ า งน้ อ ย 24 ชั ่ ว โมงก่ อ นที ่ จ ะตรวจ
สอบว่ า เสี ย งกลั บ มาเป็ น ปกติ ห รื อ ไม่
ข้ อ มู ล การกํ า จั ด และการรี ไ ซเคิ ล
สั ญ ลั ก ษณ์ ร ู ป ถั ง ขยะที ่ ม ี เ ครื ่ อ งหมายกากบาทบนผลิ ต ภั ณ ฑ์ แบตเตอรี ่ เอกสารประกอบหรื อ บรรจุ ภ ั ณ ฑ์ เ ตื อ นให้ ค ุ ณ ทราบว่ า จะต้ อ งนํ า
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละแบตเตอรี ่ ท ั ้ ง หมดไปทิ ้ ง ที ่ จ ุ ด เก็ บ รวบรวมคั ด แยกขยะเมื ่ อ หมดอายุ ก ารใช้ ง าน ทั ้ ง นี ้ จ ะต้ อ งไม่ ท ิ ้ ง อุ ป กรณ์ เ หล่ า นี ้
ปะปนกั บ ขยะในครั ว เรื อ น ถื อ เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ใ นการกํ า จั ด อุ ป กรณ์ โ ดยใช้ จ ุ ด เก็ บ รวบรวมที ่ ก ํ า หนดไว้ ห รื อ บริ ก ารสํ า หรั บ คั ด แยก
การรี ไ ซเคิ ล เศษเหลื อ ทิ ้ ง ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (WEEE) และแบตเตอรี ่ ต ามกฎหมายท้ อ งถิ ่ น
34