10. หยุ ด มอเตอร์ เ มื ่ อ ท� า การตรวจสอบ ท� า ความสะอาด
และเปลี ่ ย นเครื ่ อ งมื อ ตั ด ไม่ เ ช่ น นั ้ น เครื ่ อ งมื อ ตั ด อำจ
หมุ น โดยไม่ ไ ด้ ต ั ้ ง ใจและท� ำ ให้ ไ ด้ ร ั บ บำดเจ็ บ สำหั ส ได้
11. รั ก ษาการควบคุ ม ให้ เ หมาะสมไว้ ต ลอดเวลาจนกระทั ่ ง
เครื ่ อ งมื อ ตั ด หยุ ด นิ ่ ง แล้ ว เมื ่ อ หยุ ด มอเตอร์ ห รื อ ปล่ อ ย
สวิ ต ช์ ค ั น เร่ ง ใบมี ด ที ่ ห มุ น อยู ่ อ ำจท� ำ ให้ ไ ด้ ร ั บ บำดเจ็ บ
ได้
12. ก่ อ นเริ ่ ม การตั ด ให้ ร อจนกระทั ่ ง เครื ่ อ งมื อ ตั ด ท� า งาน
ที ่ ร ะดั บ ความเร็ ว ที ่ เ พี ย งพอส� า หรั บ การตั ด แล้ ว ซึ ่ ง จะ
ช่ ว ยลดควำมเสี ่ ย งจำกกำรดี ด กลั บ และกำรพั น เข้ ำ กั บ
วั ช พื ช
13. หยุ ด พั ก เพื ่ อ ป้ อ งกั น การสู ญ เสี ย การควบคุ ม เนื ่ อ งจาก
ความเหนื ่ อ ยล้ า ขอแนะน� ำ ให้ ห ยุ ด พั ก 10 ถึ ง 20 นำที
ทุ ก ชั ่ ว โมง
14. หยุ ด มอเตอร์ แ ละวางไว้ ใ นสถานที ่ ท ี ่ ป ลอดภั ย เมื ่ อ หยุ ด
พั ก หรื อ ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ง านเครื ่ อ ง ซึ ่ ง จะป้ อ งกั น อุ บ ั ต ิ เ หตุ ท ี ่ ไ ม่
คำดคิ ด ได้
15. อย่ า สั ม ผั ส หรื อ วางเครื ่ อ งยนต์ แ ละท่ อ ไอเสี ย บนวั ส ดุ ท ี ่
ติ ด ไฟได้ ในขณะที ่ เ ครื ่ อ งยนต์ ก � า ลั ง ท� า งานอยู ่ ห รื อ หลั ง
จากเพิ ่ ง หยุ ด เครื ่ อ งยนต์ เ นื ่ อ งจากเครื ่ อ งร้ อ น ซึ ่ ง อำจ
ท� ำ ให้ ถ ู ก ลวกและ/หรื อ เกิ ด ไฟไหม้ ไ ด้
16. อย่ า ใช้ ง านเครื ่ อ งมื อ ในสภาพอากาศที ่ เ ลวร้ า ย หรื อ มี
ความเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ฟ้ า ผ่ า
เครื ่ อ งมื อ ตั ด
1. ใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ตั ด ที ่ เ หมาะสมกั บ งานของคุ ณ
หั ว ตั ด ไนลอน (หั ว ตั ด แต่ ง หญ้ ำ สำยเอ็ น ) เหมำะ
—
ส� ำ หรั บ กำรตั ด แต่ ง หญ้ ำ ในสนำม
ใบมี ด โลหะเหมำะส� ำ หรั บ กำรตั ด วั ช พื ช หญ้ ำ ที ่ ส ู ง
—
พุ ่ ม ไม้ ไม้ พ ุ ่ ม ไม้ เ ตี ้ ย พงไม้ และที ่ ค ล้ ำ ยกั น นี ้
ใช้ อ ุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น เครื ่ อ งมื อ ตั ด ที ่ เ หมาะสมกั บ เครื ่ อ ง
มื อ ตั ด ที ่ ใ ช้ เ สมอ
2. เมื ่ อ ใช้ ห ั ว ตั ด ไนลอน ให้ ใ ช้ ส ายที ่ ย ื ด หยุ ่ น และไม่ ใ ช่ ส าย
โลหะตามที ่ แ นะน� า ไว้ ใ นคู ่ ม ื อ นี ้ ห้ า มใช้ ล วดหรื อ เชื อ ก
ลวด เนื ่ อ งจำกลวดอำจขำดและพุ ่ ง กระเด็ น ออกมำซึ ่ ง
เป็ น อั น ตรำยได้
3. ห้ า มใช้ โ ซ่ โ ลหะหมุ น แบบหลายชิ ้ น ใบมี ด จอบหมุ น
หรื อ ใบมี ด ที ่ ไ ม่ ไ ด้ แ นะน� า ไว้ ใ นคู ่ ม ื อ นี ้ ไม่ เ ช่ น นั ้ น อำจ
ท� ำ ให้ ไ ด้ ร ั บ บำดเจ็ บ สำหั ส ได้
4. เมื ่ อ จั บ ใบมี ด โลหะ ให้ ส วมใส่ ถ ุ ง มื อ และใส่ ฝ าครอบ
ใบมี ด เข้ า กั บ ใบมี ด เสมอ ใบมี ด ตั ด อำจตั ด มื อ ที ่ ไ ม่ ม ี
อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น
5. เมื ่ อ ใช้ ใ บมี ด โลหะ ให้ ห ลี ก เลี ่ ย ง "การดี ด กลั บ " และ
เตรี ย มพร้ อ มส� า หรั บ การดี ด กลั บ ที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น โดยไม่ ไ ด้
คาดคิ ด เสมอ ดู ส ่ ว น การดี ด กลั บ
การดี ด กลั บ (ใบมี ด ผลั ก ออก)
การดี ด กลั บ (ใบมี ด ผลั ก ออก) อาจเกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ ใบมี ด ที ่ ก � า ลั ง
หมุ น อยู ่ ส ั ม ผั ส กั บ วั ต ถุ ท ี ่ ไ ม่ ส ามารถตั ด ได้ ใ นทั น ที ซึ ่ ง อาจ
รุ น แรงมากพอที ่ จ ะท� า ให้ ต ั ว เครื ่ อ งและ/หรื อ ผู ้ ใ ช้ ง านถู ก ผลั ก
ออกไปในทิ ศ ทางใดๆ และอาจสู ญ เสี ย การควบคุ ม ตั ว เครื ่ อ ง
ซึ ่ ง ส่ ง ผลให้ ไ ด้ ร ั บ บาดเจ็ บ สาหั ส ได้ การดี ด กลั บ อาจเกิ ด ขึ ้ น
โดยไม่ ม ี ส ั ญ ญาณเตื อ น หากใบมี ด ติ ด หยุ ด กลางคั น หรื อ
พั น และมี แ นวโน้ ม ว่ า จะเกิ ด ขึ ้ น ได้ ง ่ า ยในบริ เ วณที ่ ม องเห็ น
วั ส ดุ ท ี ่ จ ะท� า การตั ด ได้ ย าก
การดี ด กลั บ จะเกิ ด ขึ ้ น ได้ ง ่ า ยเมื ่ อ ใช้ ใ บมี ด ในส่ ว นระหว่ า ง 12
และ 2 นาฬิ ก า ในการตั ด ของแข็ ง พุ ่ ม ไม้ หรื อ ต้ น ไม้ ท ี ่ ม ี เ ส้ น
ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 3 cm ขึ ้ น ไป
หมายเลข 1
►
การหลี ก เลี ่ ย งการดี ด กลั บ :
1. ใช้ ส ่ ว นระหว่ า ง 8 และ 11 นาฬิ ก า
2. ส่ า ยเครื ่ อ งมื อ เป็ น รู ป ครึ ่ ง วงกลมจากขวาไปซ้ า ยในแนว
ราบ เช่ น เดี ย วกั บ การใช้ เ คี ย ว ซึ ่ ง จะท� ำ ให้ ส ่ ว นที ่ เ หมำะ
สมของใบมี ด สั ม ผั ส กั บ พื ช ที ่ ต ้ อ งกำรจะตั ด
3. ห้ า มใช้ ส ่ ว นระหว่ า ง 12 และ 2 นาฬิ ก า
4. ห้ า มใช้ ส ่ ว นระหว่ า ง 11 และ 12 นาฬิ ก า และระหว่ า ง
2 และ 5 นาฬิ ก า นอกจากผู ้ ใ ช้ ง านจะได้ ร ั บ การฝึ ก
มาอย่ า งดี แ ละมี ป ระสบการณ์ รวมถึ ง ผู ้ ใ ช้ ง านยอมรั บ
ความเสี ่ ย งเอง
หมายเลข 2
►
5. ห้ า มใช้ ใ บมี ด ตั ด ใกล้ ก ั บ ของแข็ ง เช่ น รั ้ ว ก� า แพง
ล� า ต้ น ของต้ น ไม้ และหิ น
6. ห้ า มใช้ ใ บมี ด ตั ด ในแนวตั ้ ง เช่ น การตั ด แต่ ง และเล็ ม
แนวพุ ่ ม ไม้
7. หลี ก เลี ่ ย งการใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ในบริ เ วณที ่ ม องเห็ น วั ต ถุ ท ี ่
ต้ อ งการจะตั ด ได้ ย าก
แรงสั ่ น สะเทื อ น
การรั บ แรงสั ่ น สะเทื อ นมากเกิ น ไปอาจท� า ให้ เ ส้ น เลื อ ดหรื อ
ระบบประสาทของผู ้ ใ ช้ ง านได้ ร ั บ บาดเจ็ บ และท� า ให้ เ กิ ด
อาการดั ง ต่ อ ไปนี ้ ก ั บ นิ ้ ว มื อ มื อ หรื อ ข้ อ มื อ : "การเผลอหลั บ "
(อาการชา) เจ็ บ เหมื อ นโดนหนามแทง เจ็ บ ปวด ความรู ้ ส ึ ก
เหมื อ นโดนแทง สี ผ ิ ว หรื อ ผิ ว หนั ง เปลี ่ ย นแปลงไป หากมี อ า
การใดๆ ดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ ้ น ให้ ไ ปพบแพทย์
ภาษาไทย
95